โลก
เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่สาม โดยเป็นดาวเคราะห์หินขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ และเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ยืนยันได้ว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ดาวเคราะห์โลกถือกำเนิดขึ้นมาประมาณ 4570ล้านปีก่อนและหลังจากนั้นไม่นานนัก ดวงจันทร์ ซึ้งเป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลกก็ถือกำเนิดตามมาสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปรัญญาที่ครอปครองโลกปัจจุบันนี้ก็คือมนุษย์
รูปร่าง
โลกมีรูปทรงกระบอกแเบนขั้ว หมายความว่ามีรูปทรงกระบอกแต่บริเวณขั้วโลกทั้งแบนเล็กน้อย และโปร่งออกทางด้านเส้นศูนย์สูตร ความยาวรอบโลกประมาณ 40,000 กิโลเมตรมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12,700กิโลเมตร จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกคือ ยอดเขาเอเวอร์เรตร์ ซึ้งมีความสูง 8,848เมตรจากระดับน้ำทะเลส่วนจุดที่ลึกที่สุดในโลกคือร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา ซึ้งมีความลึก 10,911เมตรจากระดับน้ำทะเลเนื่องจากโลกมีลักษณะโปร่งออกทางตอนกลางคือเส้นศูนสูตรทำให้จุดที่ห่างไกลจากจุดศูนย์กลางโลกคือยอดเขา ชิมโบราโซ ในประเทศเอวาดอร์
โครงสร้าง
เปลือกโลก(crust)
เป็นชั้นนอกสุดของโลกมีความหนาประมาณ 6-35 กิโลเมตร ซึ้งถือว่าเป็นชั้นที่บางที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับชั้นอื่นๆ เสมือน เปลือกใข่ไก่หรือเปลือกหัวหอมเปลือกโลกประกอบด้วยแผ่นดินและแผ่นน้ำซึ้้งเปลือกโลกส่วนที่บางที่สุดคือเปลือกโลกใต้สมุทรส่วนเปลือกโลกที่หนาที่สุดตือเปลือกโลกที่รับรองทวีปที่มีเทือกเขาที่สูงที่สุดยุ่ด้วยดังนั้นเปลือกโลกยังแบ่งเป็น 2ชั้นคือ
•ชั้นที่หนึ่ง ชั้นหินไซอัล(sial) เป็นเปลือกโลกชั้นบนสุด ประกอบด้วยแร่ซิลิกาและอลูมินาซึ้งเป็นหินแกรนิตชนิดหนึ่ง สำหรับบริเวณผิวของชั้นนี้จะเป็นหินตะกอนชั้นหิน ไซอัลนี้มีเฉพาะเปลือกโลกที่เป็นทวีปเท่านั้นส่วนเปลือกโลกที่ยุ่บริเวณใต้ทะเลและมหาสมุทรจะไม่มีชั้นหินนี้
•ชั้นที่สอง ชั้นหินไซมา(sima) เป็นชั้นที่อยู่ใต้หินชั้นไซอัลลงไป ส่วนใหญ่เป็นหินบะซอนต์ประกอบด้วยแร่ซิลิกา เหล็กออกไซด์และแมกนีเซียม ชั้นหินไซมาห่อหุมทั่วทั้งพื้นโลกอยู่ในทะเลและมหาสมุทรซึ้งต่างจากหินชั้นไซอัลที่ปกคลุมเฉพาะส่วนที่เป็นทวีป และยังมีความหนาแน่นมากกว่าชั้นหินไซอัล
แมนเทิล(mantle,Earth'mantle)
คือชั้นที่อยู่ห่างจากเปลือกโลกลงไป มีความหนาแน่น 3,000 กิโลเมตรบางส่วนของหินอยู่ในสถานะหลอมเหลวเรียกว่า หินหนืด(magma)ทำให้ชั้นแมนเทิลมีความร้อนสูงมากเนื่องจากหินหนืดมีอุณหภูมิ 800-4300องศาเซลเซียส ซึ้งประกอบด้วยหินอัคนีเป็นส่วนใหญ่เช่นหิน อัลตาเบสิก หินเพริโดไลต์
แก่นโลก (core)
ความหนาแน่นของดาวโลกเฉลี่ยคือ 5,515 กก./ลบ.ม. ทำให้มันเป็นดาวเคราะห์ที่หนาแน่นที่สุดในสุริยะ แต่ถ้าวัดความหนาแน่นเฉลี่ยของพื้นผิวโลกได้เพียง 3,000 กก./ลบ.ม.เท่านั้นซึ้งทำให้เกิดข้อสรุปว่ายังมีวัตถุอื่นๆที่หนาแนน่กว่าอยู่ในแก่นโลกแน่นอน ระหว่างการเกิดขึ้นของโลก ประมาณ 4.5พันล้านปีมาแล้วการหลอมละลายอาจทำให้เกิดสสารที่มีความหนาแน่นมากกว่าไหลเข้าไปในแกนกลางของโลก ในขณะที่สสารที่หนาแน่นน้อยกว่าคุมเปลือกโลกอยู่ ซึ้งทำให้แก่นโลกมีองค์ประกอบเป็นธาตุเหล็ก 80% รวมถึงนิเกิลและแร่ธาตุที่มีน้ำหนักที่เบากว่า แต่ในขณะที่สสารที่มีความหนาแน่นสูงอื่นๆ เช่นตะกั่วและยูเรเนี่ยมที่มีอยู่น้อยเกินกว่าที่จะผสานเข้ากับธาตุที่เบากว่าได้ และทำให้สสารเหล่านั้นคงที่อยู่บนเปลือกโลก แก่นโลกแบ่งออกเป็น 2ชั้นได้แก่
•แก่นโลกชั้นนอก(outer core) มีความหนาจากผิวโลกประมาณ 2,900-5,000กิโลเมตร ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิเกิลในสภาพที่หลอมละลาย และมีความร้อนสูง มีอุณหภูมิประมาณ 6,200-6,400มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ 12.0 และส่วนนี้มีสถานะเป็นของเหลว
•แก่นโลกชั้นใน(inner core) เป็นส่วนที่ยุ่ใจกลางโลกพอดีมีรัศมีประมาณ 1,000กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 4,300-6,200และมีความกดดันมหาศาล จึงทำให้ส่วนนี้มีสถานะเป็นของแข็ง ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิเกิลที่อยู่ในสภาพที่เป็นของแข็ง มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ 17.0
สภาพบรรยากาศ
สภาพอากาศของโลก คือ การห่อหุ้มด้วยชั้นบรรยากาศ ซึ้งมีทั้งหมด 5ชั้นได้แก่
1.ชั้นโทรโพสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่0-10กิโลเมตรจากผิวโลก บรรยากาศมีไอน้ำ เมฆ หมอกซึ้งมีความหนาแน่นมากและมีการแปรปรวนของอากาศอยู่ตลอดเวลา
2.ชั้นสตาโตสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่10-35กิโลเมตรจากผิวโลก บรรยากาศชั้นนี้แถบจะไม่เปลี่ยนแปลงจากโทรโพสเฟียร์ยกเว้นมีผงฝุ่นเพิ่มมาเล็กน้อย
3.ชั้นเมโสสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่35-80กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศมีก๊าซโอโซนอยู่มากช่วยสกัดแสง อัลตร้าไวโอเลต(UV)จากดวงอาทิตย์ไม่ให้มาถึงพื้นโลกมากเกินไป
4.ชั้นไอโอโนสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่80-600กิโลเมตร จากผิวโลกบรรยากาศมีออกซิเจน จางมากไม่เหมาะกับมนุษย์
5.ชั้นเอกโวสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่600กิโลเมตรขึ้นไปจากผิวโลก บรรยากาศมีออกซิเจนจางมากๆ และมีก๊าซฮีเลียมและไฮโดรเจนอยู่เป็นส่วนมาก โดยมีชั้นติดต่อกับอวกาศโลกมีอุณหภูมิ 15องศาเซลเซียสโดยเฉลีย
วงโคจรและการหมุนรอบตัวเอง
โลกหมุนรอบตัวเอง 14ชั่วโมงในหนึ่งวัน แต่นักวิทยาศาสตร์คำนวนได้ 23.56ชั่วโมงแต่จะใช้ 24ชั่วโมงเป็นหลัก และ365วันในหนึ่งปี โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 150ล้านไมล์ และเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 30กิโลเมตรต่อวินาที หรือ 108,000กิโลเมตรต่อชั่วโมง
วงโคจรของดวงจันทร์ยุ่ห่างจากโลก 250,000ไมล์ ดวงจันทร์จะหันพื้นผิวด้านเดียวเข้าหาโลกยอยู่เสมอและโคจรรอบโลกใช่เวลาประมาณหนึ่งเดือน
โลกเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุริยะ และมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์รวมกับวัตถุขนาดเล็กกว่าพันชิ้น และดาวเคราะห์อีก 8ดวง ดวงอาทิตย์และระบบสุริยะเครื่อนที่ผ่าน ส่วนแขนออริออน ดาราจักรทางช้างเผือก และจะเครื่อนที่ครบรอบในอีก 10,000ปีข้างหน้า
ดาวบริวาร
ดวงจันทร์ เป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลก จัดเป็นดาวบริวารขนาดใหญ่ลำดับที่ 5ในระบบสุริยะ มีระยะทางจากโลกเฉลี่ยนับจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลางประมาณ 384,403กิโลเมตร เทียบเท่ากับ 30เท่าของเส่นผ่านศูนย์กลางของโลก จุดศูนย์กลางมวลรวมของระบบตั้งอยู่ที่ตำแหน่ง 1700กิโลเมตรใต้ผิวโลกหรือประมาณ 1ใน4 ของรัศมีของโลก ดวงจันทร์โคจรรอบโลกประมาณ 27.3วัน เมื่อเปรียบเทียบการแปลคาบโคจรตามมาตรภูมิศาสตร์ระหว่างโลก ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์ ทำให้เกิดเป็นเฟสของดวงจันทร์ ซึ่งจะซ้ำรอบรอบทุกๆช่วง 29.5วัน(เรียกว่า คาบไซโนดิก)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น